ขอบคุณคะ
สาร reducing agent นั้นเป็นตัวลดเลขออกซิเดชันของสารที่ทำปฏิกิริยาด้วยโดยปฏิกิริยา reduction โดยที่สาร reducing agent จะถูก oxidise (สาร reducing agent นั้นจะถูกเพิ่มเลขออกซิเดชันโดยการให้ electron กะชาวบ้านเขา) สาร oxidising agent นั้นจะสามารถเพิ่มเลขออกซิเดชันของสารที่ทำปฏิกิริยาด้วย โดยปฏิกิริยา oxidation โดยที่สาร oxidising agent จะถูก reduce อิ อิ ( สาร oxidising agent นั้นจะถูกลดเลขออกซิเดชันของตัวเองโดยการรับ electron จากชาวบ้านเขา)
อย่า งง...active-passive voice ธรรมดา
ลองดูละเอียดๆ จำสั้นๆ ก็ได้
+ electron มันเป็น (-) ถ้าให้ชาวบ้านแล้วก็จะทำให้ (-) น้อยลง ดังนั้น (+) เพิ่มขึ้น อันนี้เป็น reducing agent
+ ส่วน oxidising agent ตรงข้าม
ผมจำอย่างงี้ครับ
อ๊อก ออก...รี รับ
ปฏิกริยาออกซิเดชั่น => ตัวรีดิวซ์ => ตัวถูกออกซิไดซ์ => ให้ e-
ปฏิกริยารีดักชั่น => ตัวออกซิไดซ์ => ตัวถูกรีดิวซ์ => รับ e-
Leo Ger
(lion roar)
Lose electron Oxidation
Gain electron Reduction
Source :
Stryer, L. (1995) Biochemistry, 4th Edition, p.449
Source : Same as above, p. 450
NAD+ is the oxidised form.
NADH is the reduced form.
NAD+ is reduced to NADH form.
NADH is oxidised to NAD+ form.
NADH + H+ is the reducing agent for acetaldehyde.
Acetaldehyde is reduced to ethanol resulting in formation of NAD+ which is the oxidised form of NAD.
R = H
R' = CH3
for acetaldehyde and ethanol
For reduction reaction of acetaldehyde to ethanol.
Using NADH + H+ as an reducing agent.
NADH + H+ will undergo oxidation reaction.
Example of oxidation-reduction reaction with NADH + H+
Please notice that a proton is consumed in decarboxylase reaction of pyruvate (releasing carbon dioxide) thus the pH of the reaction media will be increased.
This figure shows how NAD+ is converted back to NADH + H+